เว็บไซต์ Ars Technica ประเมินสถิติแหล่งที่มาของการผลิตไฟฟ้าในสหรัฐ (อ้างอิงตัวเลขจาก US Energy Information Agency) คาดว่าในปี 2023 สหรัฐอเมริกามีสัดส่วนการผลิตไฟฟ้าที่ไม่ปลดปล่อยคาร์บอน เพิ่มขึ้นมาแตะหลัก 40% ได้สำเร็จแล้ว
ส่วนที่เหลือยังเป็นการผลิตไฟฟ้าที่เกิดการปล่อยคาร์บอน ได้แก่ ก๊าซธรรมชาติ 44% และถ่านหิน 16% ทิศทางการใช้ถ่านหินนั้นลดลงจากเกือบ 20% ในปี 2022 มาเหลือ 16.2% ในปี 2023 ส่วนการใช้ก๊าซธรรมชาติกลับเพิ่มขึ้นจาก 40% ในปี 2022 มาเป็น 43.4% ในปี 2023
บทความที่เกี่ยวข้อง เตาปฎิกรณ์นิวเคลียร์ Vogtle 3 ในสหรัฐฯ เปิดใช้งาน เตาแรกในรอบ 7 ปี
ภาพประกอบโดย Erik Wilde จาก Wikipedia
ส่วนตัวเลขของประเทศไทย เท่าที่หาได้มาจากรายงานสรุปสถิติปี 2565 ของสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน โดยก๊าซธรรมชาติ + ถ่านหิน + น้ำมัน รวมกัน 71%, พลังงานหมุนเวียน + น้ำ รวมกัน 13% แต่ต้องหมายเหตุว่ามีสัดส่วนของพลังงานนำเข้าจากต่างประเทศด้วยอีก 16% ทำให้ไปเทียบกับตัวเลขของสหรัฐตรงๆ ไม่ได้
ที่มา - Ars Technica
Topics:
USA
Energy
Nuclear
อ่านต่อ...
- นิวเคลียร์ 18% คงที่
- ลม 10% คงที่
- น้ำ 6% ลดลง
- แสงอาทิตย์ 6% เพิ่มขึ้น
ส่วนที่เหลือยังเป็นการผลิตไฟฟ้าที่เกิดการปล่อยคาร์บอน ได้แก่ ก๊าซธรรมชาติ 44% และถ่านหิน 16% ทิศทางการใช้ถ่านหินนั้นลดลงจากเกือบ 20% ในปี 2022 มาเหลือ 16.2% ในปี 2023 ส่วนการใช้ก๊าซธรรมชาติกลับเพิ่มขึ้นจาก 40% ในปี 2022 มาเป็น 43.4% ในปี 2023
บทความที่เกี่ยวข้อง เตาปฎิกรณ์นิวเคลียร์ Vogtle 3 ในสหรัฐฯ เปิดใช้งาน เตาแรกในรอบ 7 ปี
ภาพประกอบโดย Erik Wilde จาก Wikipedia
ส่วนตัวเลขของประเทศไทย เท่าที่หาได้มาจากรายงานสรุปสถิติปี 2565 ของสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน โดยก๊าซธรรมชาติ + ถ่านหิน + น้ำมัน รวมกัน 71%, พลังงานหมุนเวียน + น้ำ รวมกัน 13% แต่ต้องหมายเหตุว่ามีสัดส่วนของพลังงานนำเข้าจากต่างประเทศด้วยอีก 16% ทำให้ไปเทียบกับตัวเลขของสหรัฐตรงๆ ไม่ได้
ที่มา - Ars Technica
Topics:
USA
Energy
Nuclear
อ่านต่อ...